วันจันทร์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2557

การทดลองวิทยาศาสตร์แบบง่ายๆ


การทดลองวิทยาศาสตร์แบบง่ายๆ

           ยินดีต้อนรับเพื่อนๆทุกคนเข้าสู่การทดลองวิทยาศาสตร์ที่จะไม่ยากอีกต่อไป ซึ่งจะพาเพื่อนๆให้พบเจอกับความสนุกสนานในการทดลอง ได้ทั้งสาระความรู้ และยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อีกด้วย




           ก๊าซเป็นสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวเราแต่เราไม่สามารถมอเห็นได้ แต่เราสามารถจับมันได้โดยการทดลองนี้ ไปดูกัน

                       ขวดมหัศจรรย์






    อุปกรณ์มีดังต่อไปนี้
     1.ลูกโป่ง
     2.ผงฟู
     3.นํ้าส้มสายชู
     4.ขวดนํ้า
    

    ขั้นตอนการทดลอง
     1.นำผงฟูใส่ลงไปในลูกโป่ง
     2.นำนํ้าส้มสายชูใส่ลงไปในขวดนํ้า
     3.ครอบลูกโปร่งลงบนปากขวด
     4.สังเกตผลการทดลอง


          เพราะอะไรกันนะ เอ๋!!!
    เบกกิ้งโซดา (Baking Soda) ทำปฏิกิริยากับนํ้าส้มสายชูทำให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งก๊าซมีความหนาแน่น้อยกว่าอากาศ จึงทำให้ก๊าซลอยตัวสูงขึ้น เมื่อมีก๊าซมากๆทำให้ลูกโป่งพองตัวออก เบกกิ้งโซดา (Baking Soda) มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium Bicarbonate) หรือที่คุณแม่ของพวกเราหลายๆคน เรียกว่า ผงฟู ^^


           หลังจากที่ได้ศึกษาการทดลองเกี่ยวกับก๊าซไปแล้ว พวกเราลองไปศึกษาการทดลองอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับความน่าเหลือเชื่อในวิทยาศาสตร์กันต่อเลยดีกว่า ครับ/ค่ะ 



Let…Go !!!

                    เปลวไฟเริงร่า









    อุปกรณ์มีดังต่อไปนี้
     1.แก้วนํ้า
     2.เทียนไข
     3.เข็มมุด
     4.ที่จุดไฟ
     5.นํ้า


    ขั้นตอนการทดลอง
     1.นำนํ้าใส่ในแก้วนํ้าเกือบเต็มแก้ว
     2.นำเข็มมุดเสียบที่ก้นของเทียนไข
     3.นำเทียนไขไปลอยในแก้วนํ้า
     4.นำที่จุดไฟไปจุดที่เทียนไจ
     5.สังเกตผลการทดลอง


          เพราะอะไรกันนะ เอ๋!!!
     ที่เทียนไขลอยอยู่บนนํ้าได้และไฟไม่ดับ เพราะเทียนไขทำมาจากขี้ผึ้งพาราฟินจึงทำให้เทียนไม่เปียกนํ้า และตะปูทำหน้าที่เป็นจุดศูนย์กลางรวมนํ้าหนักทำให้เทียนสมดุล ซึ่งขี้ผึ้งพาราฟินเป็นไขมันที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียมมีลักษณะใส ไม่มีกลิ่น ไม่มีรสชาติคล้ายกับขี้ผึ้ง จุดหลอมเหลวอยู่ที่ 47-64องศาเซลเซียส  มีคุณสมบัติที่เป็นฉนวนกันความร้อนที่ดี ไม่ละลายนํ้า นิยมใช้เคลือวัสดุต่างๆ เพื่อป้องกันนํ้า

                Color Secret









    อุปกรณ์มีดังต่อไปนี้
     1.สีเมจิก หลากสี
     2.กระดาษทิชชู
     3.กระดาษกรองกาแฟ
     4.แก้วนํ้า


    ขั้นตอนการทดลอง
     1.ตัดกระดาษกรองเป็นแถบยาวๆ
     2.ระบายสีที่ต้องการทดสอบให้เป็นแถบหนาลงบนกระดาษ โดยห่างจากปลายประมาณ
1เซนติเมตร
     3.จุ่มปลายกระดาษช่วงที่เว้นไว้ 1เซนติเมตร ลงในนํ้า 1ซม. ระวังอย่าให้เส้นมราขีดไว้จมนํ้า เพราะจะทำให้สีละลายลงไปในนํ้า 
     4.นำกระดาษไปตากให้แห้ง แล้วทำการทดลองสีต่อไป


                    เพราะอะไรกันนะ  เอ๋!!!!
     สีสังเคราะนั้นเกิดจากการผสมสีของแม่สี คือสีแดง สีเหลือง สีนํ้าเงิน ในอัตราส่วน ที่ไม่เท่ากัน จึงทำให้สีต่างๆเกิดขึ้นมากมาย การแยกสีด้วยกระดาษกรองนี้เราเรียกว่า เปเปอร์โครมาโทกราฟี่  ซึ่งเป็นการแยกปริมาณของสารที่ผสมกันในปริมาณที่น้อยให้แยกออกมาเป็นแถบเส้นสีหรือแถบสี โดยมีการอาศัยสมบัติ 2ประการ คือ
1.)สารต่างชนิดกันมีความสามารถในตัวทำละลายได้ต่างกัน
2.)สารต่างชนิดกันมีความสามารถในการดูดซับด้วยตัวดูดซับได้ต่างกัน

                     ไข่เด้งดึ๋ง




    

 

 
    อุปกรณ์มีดังต่อไปนี้
      1.ไข่ดิบ 2ฟอง
      2.แก้วนํ้าหรือแก้วพลาสติก 2ใบ
      3.นํ้าเปล่า 200มิลลิลิตร
     4.นํ้าส้มสายชู 200มิลลิลิตร


    ขั้นตอนการทดลอง
     1.เทนํ้าและนํ้าส้มสายชูใส่แก้วใบที่1 และ 2 อย่างละครึ่งแก้ว 
     2.ค่อยๆหย่อนไข่ลงในแก้มใบที่ 1ปละแก้วใบที่ 2
     3.แช่ไข่ทั้งสองไว้ประมาณ 48ชั่วโมง
     4.สังเกตการเปลี่ยนแปลงของไข่ในแก้วใบที่ 1และ2


                    เพราะอะไรกันนะ  เอ๋!!!
     เปลือกไข่ประกอบด้วยแคลเซียมเมื่อแช่ลงในนํ้าส้มสายชูความเป็นกรดของนํ้าส้มสายชูจะทำให้มีปฏิกิริยาเกิดขึ้น และถ้ามีการสังเกตจะเห็นฟองกาศคาร์บอนไดออกไซด์ไปจับตัวอยู่รอบเปลือกไข่ทำให้เปลือกไข่ถูกกัดกร่อน เนื่องจากนํ้าส้มสายชูเป็นของเหลวจึงสามารถซึมผ่านเปลือกไข่เข้าไปยังไข่ขาวได้ และไปทำปฏิกิริยากับโปรตีนที่เรียกว่า อัลบูมินในไข่ขาว ทำให้โปรตีนเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพ เกิดเป็นโครงสร้างคล้ายกับยาง
              
                    เทียนดูดนํ้า







 
 
    อุปกรณ์มีดังต่อไปนี้
     1.แก้วปากกว้าง 1 ใบ
     2.เหรียญ
     3.เทียนไขที่จุดแล้ว
     4.จานใส่นํ้า
     5.นํ้าที่ใส่สีผสมอาหารแล้ว


    ขั้นตอนการทดลอง
    1.เทนํ้าสีลงในจาน
    2.นำเหรียญใส่ลงในจานพร้อมกับวางเทียนไขลงในจาน
    3.นำแก้วครอบลงไปที่เทียนไข
    4.สังเกตผลการทดลอง


                    เพราะอะไรอะไรกันนะ  เอ๋!!!
     ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาสันดาษเกิดจากการที่ก๊าซออกซิเจนถูกใช้ในการเผาไหม้ทำให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ขึ้นมาหลังจากนั้นความดันอากาศที่อยู่ในแก้วจะลดน้อยลง ความดันอากาศจากนอกแก้วก็จะดันนํ้าเข้ามาในแก้ว

              ไม้ขีดไฟหยิบเหรียญ



     




 
 
  อุปกรณ์มีดังต่อไปนี้
     1.ไม้ขีดไฟ
     2.เหรียญบาท


    ขั้นตอนการทดลอง
     1.วางไม้ขีดให้เป็นสามเหลียมมุมฉากบนกล่องพร้อมวางเหรียญไว้ข้างล่าง
     2.จุดไฟกับไม้ขีดที่พาดกับไม้ขีดที่ตั้งตรง (ดูที่รูป)
     3.สังเกตผลการทดลอง


                    เพราะอะไรกันนะ  เอ๋!!!
     เหตุเกิดมาจากเมื่อไม้ขีดเกิดการเผาไหม้นํ้าหนักของไม่ขีดจะลดลงเนื่องจากบางส่วนของไม้ขีดนั้นได้กลายเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และไอนํ้าจึงทำให้นํ้าหนักของไม้ขีดลดลง และอีกหนึ่งสาเหตุคือเมื่อเราจุดไฟอากาศบริเวณหัวไม้ขีดจะร้อนและลอยสูงขึ้นเป็นเหตุให้อากาศด้านล่างที่เย็นกว่าพยายามไปแทนที่เกิดกระแสลมเบาๆที่มองไม่เห็นยกก้านไม้ขีดขึ้นเมื่ออุณหภูมิใกล้เคียงกันแล้วก้านไม้ขีดก็จะแตะที่กล่องไม้ขีดดังเดิม

                      ลาวาแลมป์









     อุปกรณ์มีดังต่อไปนี้
     1.ขวดแก้ว
     2.สีผสมอาหาร
     3.นํ้ามัน
     4.นํ้าเปล่า
     5.ยาเม็ดฟู่


     ขั้นตอนการทดลอง
     1.เทนํ้าใส่ลงในขวดประมาณ 1นิ้ว
     2.เทนํ้ามันใส่ลงในขวดประมาณเกือบเต็มขวด
     3.ใส่สีผสมอาหารลงไปในขวด
     4.รอให้สีผสมอาหารตกลงไปอยู่ก้นขวด
     5.ใส่ยาเม็ดฟู่ลงไป
     6.สังเกตผลการทดลอง


                  เพราะอะไรกันนะ  เอ๋!!!
     เป็นเพราะยาเม็ดฟู่ที่เกิดการละลายนําแล้วทำให้เกิดแกซคาร์บอนไดออกไซด์ ที่เราเห็นเป็นฟองอากาศที่ทำให้นํ้าผสมกีบสีผสมอาหารจากด้านล่างก้นขวดลอยตัวเป็นหยดสีขึ้นไปด้านบนจนเมื่อลอยไปถึงผิวด้านบนสุดฟองอากาศก็จะแตกออกหยดนํ้าสีก็จะตกลงข้างล่าง ด้วยความหนาแน่นที่มากกว่านํ้ามันเราจึงเห็นว่าของเหลวสีสวยในขวดมีการเคลื่อนที่ไปมาจนกระทั่งหมดปฏิกิริยาของยาเม็ดฟู่นั่นเอง

                    ผลึกมหัศจรรย์







 
             

    อุปกรณ์มีดังต่อไปนี้
     1.สารส้ม
     2.ภาชนะสำหรับละลายสารส้ม
     3.นํ้าสะอาด
     4.แก้ว
     5.ไม้
     6.เส้นด้ายสำหรับเกาะการเกาะผลึกหรือเราอาจทำขดลวดเพื่อให้ผลึกเกาะออกมาในรูปแบบที่ต้องการ


    ขั้นตอนการทดลอง
     1.นำนํ้าไปต้มจนเดือดเมื่อนํ้าเดือดแล้วให้ใส่สารส้มลงไป
     2. คนไปเรื่อยๆรอจนสารส้มอิ่มตัว
     3.เมื่อสารส้มอิ่มตัวแล้วให้นำไปเทใส่แก้วที่เตรีมไว้
     4.นำด้ายไปผูกกับไม้แล้วนำไปวางที่ปากแก้ว รอประมาณ20-30นาที
     5.สังเกตผลการทดลอง


               เพราะอะไรกันนะ  เอ๋!!!
     เป็นเหตุการณ์ที่ สารส้มเกิดการอิ่มตัว ยิ่งเมื่อได้รับความร้อนยิ่งทำให้สารส้มอิ่มตัวเร็วมากขึ้น และเมื่อเวลาผ่านไป20-30นาที จึงทำให้สารส้มเกิดการตกผลึก

                     กระดาษวิเศษ



                                           




 

 
 
    อุปกรณ์มีดังต่อไปนี้
     1.กระดาษ
     2.กาว
     3.ไฟแช็ก
     4.นํ้า


    ขั้นตอนการทดลอง
     1.พับกระาษให้เป็นวัตถุที่สามารถใส่นํ้าได้
     2.เทนํ้าลงไปในกระดาษพอประมาณซักครึ่งแก้ว
     3.ใช้ไฟแจกจุดที่ใต้ก้นกระดาษที่ใส่นํ้า


               เพราะอะไรกันนะ  เอ๋!!!
     เนื่องจากเราเทนํ้าลงไปในกระดาษที่พับไว้เป็นรูปสี่เหลี่ยม เมื่อเราจุดไฟที่ใต้ก้นกระดาษนํ้าจะดูดซับความร้อนจากไฟที่จุดใต้ก้นกระดาษ จึงทำให้กระดาษที่มีนํ้าอยู่ภายในไม่สามารถติดไฟได้  


ก่อนจะลากัน พวกเราขอนำเสนอการทดลองวิทยาศาสตร์ที่น่าตื่นเต้นหวาดเสียว Let...Go!!!




คลิปวีดีโอนี้ ผู้ใหญ่ควรให้คำแนะนำเด็กอายุตํ่ากว่า15ปี


   อ้างอิง
 https://www.google.co.th
 หนังสือเรียนเคมี อ.อุ๊
               

การทดลองขวดมหัศจรรย์

การทดลองวิทยาศาสตร์แบบง่ายๆ

ยินดีต้อนรับเพื่อนๆทุกคนเข้าสู่การทดลองวิทยาศาสตร์ที่จะไม่ยากอีกต่อไป ซึ่งจะพาเพื่อนๆให้พบเจอกับความสนุกสนานในการทดลอง ได้ทั้งสาระความรู้ และยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อีกด้วย

ก๊าซเป็นสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวเราแต่เราไม่สามารถมอเห็นได้ แต่เราสามารถจับมันได้โดยการทดลองนี้ ไปดูกัน

                      ขวดมหัศจรรย์

 




http://www.youtube.com/watch?v=rX2dx0pSQBY


    อุปกรณ์มีดังต่อไปนี้
    1.ลูกโป่ง
    2.ผงฟู
    3.นํ้าส้มสายชู
    4.ขวดนํ้า

 
    ขั้นตอนการทดลอง
    1.นำผงฟูใส่ลงไปในลูกโป่ง
    2.นำนํ้าส้มสายชูใส่ลงไปในขวดนํ้า
    3.ครอบลูกโปร่งลงบนปากขวด
    4.สังเกตผลการทดลอง
 
             เพราะอะไรกันนะ เอ๋!!!
    เบกกิ้งโซดา (Baking Soda) ทำปฏิกิริยากับนํ้าส้มสายชูทำให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งก๊าซมีความหนาแน่น้อยกว่าอากาศ จึงทำให้ก๊าซลอยตัวสูงขึ้น เมื่อมีก๊าซมากๆทำให้ลูกโป่งพองตัวออก เบกกิ้งโซดา (Baking Soda) มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium Bicarbonate) หรือที่คุณแม่ของพวกเราหลายๆคน เรียกว่า ผงฟู^^


             หลังจากที่ได้ศึกษาการทดลองเกี่ยวกับก๊าซไปแล้ว พวกเราลองไปศึกษาการทดลองอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับความน่าเหลือเชื่อในวิทยาศาสตร์กันต่อเลยดีกว่า ครับ/ค่ะ




Let…Go !!!

 
 

การทดลองเปลวไฟเริงร่า



                    เปลวไฟเริงร่า








    อุปกรณ์มีดังต่อไปนี้
     1.แก้วนํ้า
     2.เทียนไข
     3.เข็มมุด
     4.ที่จุดไฟ
     5.นํ้า


    ขั้นตอนการทดลอง
     1.นำนํ้าใส่ในแก้วนํ้าเกือบเต็มแก้ว
     2.นำเข็มมุดเสียบที่ก้นของเทียนไข
     3.นำเทียนไขไปลอยในแก้วนํ้า
     4.นำที่จุดไฟไปจุดที่เทียนไจ
     5.สังเกตผลการทดลอง


          เพราะอะไรกันนะ เอ๋!!!
     ที่เทียนไขลอยอยู่บนนํ้าได้และไฟไม่ดับ เพราะเทียนไขทำมาจากขี้ผึ้งพาราฟินจึงทำให้เทียนไม่เปียกนํ้า และตะปูทำหน้าที่เป็นจุดศูนย์กลางรวมนํ้าหนักทำให้เทียนสมดุล ซึ่งขี้ผึ้งพาราฟินเป็นไขมันที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียมมีลักษณะใส ไม่มีกลิ่น ไม่มีรสชาติคล้ายกับขี้ผึ้ง จุดหลอมเหลวอยู่ที่ 47-64องศาเซลเซียส  มีคุณสมบัติที่เป็นฉนวนกันความร้อนที่ดี ไม่ละลายนํ้า นิยมใช้เคลือวัสดุต่างๆ เพื่อป้องกันนํ้า

การทดลองความลับของสี

    Color Secret


    อุปกรณ์มีดังต่อไปนี้
     1.สีเมจิก หลากสี
     2.กระดาษทิชชู
     3.กระดาษกรองกาแฟ
     4.แก้วนํ้า

    ขั้นตอนการทดลอง
     1.ตัดกระดาษกรองเป็นแถบยาวๆ
     2.ระบายสีที่ต้องการทดสอบให้เป็นแถบหนาลงบนกระดาษ โดยห่างจากปลายประมาณ
1เซนติเมตร
     3.จุ่มปลายกระดาษช่วงที่เว้นไว้ 1เซนติเมตร ลงในนํ้า 1ซม. ระวังอย่าให้เส้นมราขีดไว้จมนํ้า เพราะจะทำให้สีละลายลงไปในนํ้า 
     4.นำกระดาษไปตากให้แห้ง แล้วทำการทดลองสีต่อไป

                    เพราะอะไรกันนะ  เอ๋!!!!
     สีสังเคราะนั้นเกิดจากการผสมสีของแม่สี คือสีแดง สีเหลือง สีนํ้าเงิน ในอัตราส่วน ที่ไม่เท่ากัน จึงทำให้สีต่างๆเกิดขึ้นมากมาย การแยกสีด้วยกระดาษกรองนี้เราเรียกว่า เปเปอร์โครมาโทกราฟี่  ซึ่งเป็นการแยกปริมาณของสารที่ผสมกันในปริมาณที่น้อยให้แยกออกมาเป็นแถบเส้นสีหรือแถบสี โดยมีการอาศัยสมบัติ 2ประการ คือ
1.)สารต่างชนิดกันมีความสามารถในตัวทำละลายได้ต่างกัน
2.)สารต่างชนิดกันมีความสามารถในการดูดซับด้วยตัวดูดซับได้ต่างกัน
   

การทดลองไข่เด้งดึ๋ง

            ไข่เด้งดึ๋ง 







 
 
 
  อุปกรณ์มีดังต่อไปนี้
      1.ไข่ดิบ 2ฟอง
      2.แก้วนํ้าหรือแก้วพลาสติก 2ใบ
      3.นํ้าเปล่า 200มิลลิลิตร
     4.นํ้าส้มสายชู 200มิลลิลิตร


    ขั้นตอนการทดลอง
     1.เทนํ้าและนํ้าส้มสายชูใส่แก้วใบที่1 และ 2 อย่างละครึ่งแก้ว 
     2.ค่อยๆหย่อนไข่ลงในแก้มใบที่ 1ปละแก้วใบที่ 2
     3.แช่ไข่ทั้งสองไว้ประมาณ 48ชั่วโมง
     4.สังเกตการเปลี่ยนแปลงของไข่ในแก้วใบที่ 1และ2

                    เพราะอะไรกันนะ  เอ๋!!!
     เปลือกไข่ประกอบด้วยแคลเซียมเมื่อแช่ลงในนํ้าส้มสายชูความเป็นกรดของนํ้าส้มสายชูจะทำให้มีปฏิกิริยาเกิดขึ้น และถ้ามีการสังเกตจะเห็นฟองกาศคาร์บอนไดออกไซด์ไปจับตัวอยู่รอบเปลือกไข่ทำให้เปลือกไข่ถูกกัดกร่อน เนื่องจากนํ้าส้มสายชูเป็นของเหลวจึงสามารถซึมผ่านเปลือกไข่เข้าไปยังไข่ขาวได้ และไปทำปฏิกิริยากับโปรตีนที่เรียกว่า อัลบูมินในไข่ขาว ทำให้โปรตีนเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพ เกิดเป็นโครงสร้างคล้ายกับยาง
              

การทดลองเทียนดูดนํ้า


                    เทียนดูดนํ้า


    อุปกรณ์มีดังต่อไปนี้
     1.แก้วปากกว้าง 1 ใบ
     2.เหรียญ
     3.เทียนไขที่จุดแล้ว
     4.จานใส่นํ้า
     5.นํ้าที่ใส่สีผสมอาหารแล้ว


    ขั้นตอนการทดลอง
    1.เทนํ้าสีลงในจาน
    2.นำเหรียญใส่ลงในจานพร้อมกับวางเทียนไขลงในจาน
    3.นำแก้วครอบลงไปที่เทียนไข
    4.สังเกตผลการทดลอง


                    เพราะอะไรอะไรกันนะ  เอ๋!!!
     ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาสันดาษเกิดจากการที่ก๊าซออกซิเจนถูกใช้ในการเผาไหม้ทำให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ขึ้นมาหลังจากนั้นความดันอากาศที่อยู่ในแก้วจะลดน้อยลง ความดันอากาศจากนอกแก้วก็จะดันนํ้าเข้ามาในแก้ว

การทดลองไม้ขีดไฟหยิบเหรียญ

           
ไม้ขีดไฟหยิบเหรียญ
     


      

 

http://www.youtube.com/watch?v=hLX1OBJexMY

 
 
 
   อุปกรณ์การทดลองมีดังนี้
    1.ไม้ขีดไฟ
    2.เหรียญบาท
  
   ขั้นตอนการทดลอง
    1.วางไม้ขีดให้เป็นสามเหลียมมุมฉากบนกล่องพร้อมวางเหรียญไว้ข้างล่าง
    2.จุดไฟกับไม้ขีดที่พาดกับไม้ขีดที่ตั้งตรง (ดูที่รูป)
    3.สังเกตผลการทดลอง


         เพราะอะไรกันนะ เอ๋!!!
   เหตุเกิดมาจากเมื่อไม้ขีดเกิดการเผาไหม้นํ้าหนักของไม่ขีดจะลดลงเนื่องจากบางส่วนของไม้ขีดนั้นได้กลายเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และไอนํ้าจึงทำให้นํ้าหนักของไม้ขีดลดลง และอีกหนึ่งสาเหตุคือเมื่อเราจุดไฟอากาศบริเวณหัวไม้ขีดจะร้อนและลอยสูงขึ้นเป็นเหตุให้อากาศด้านล่างที่เย็นกว่าพยายามไปแทนที่เกิดกระแสลมเบาๆที่มองไม่เห็นยกก้านไม้ขีดขึ้นเมื่ออุณหภูมิใกล้เคียงกันแล้วก้านไม้ขีดก็จะแตะที่กล่องไม้ขีดดังเดิม